วัดพระพุทธบาทดอยโล้น

6 Jul


พระพุทธบาทดอยโล้น

สมเด็จมหาสากยะมุณีศรีสรรเพชร เป็นพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะงดงาม ขนาดใหญ่ หน้าตักกว้าง 20 เมตร สูง 38 เมตร มีรอยพระพุทธบาทตั้งอยู่บนยอดเขาสูง ในบริเวณเดียวกันยังมีบ่อน้ำธรรมชาติ ชาวบ้านเรียกว่า “บ่อน้ำทิพย์” ในเดือนเมษายนของทุกปี (หลังประเพณีสงกรานต์) ชาวบ้านจะจัดประเพณีขึ้นเขาไหว้รอบพระพุทธบาท

Advertisement

“ประเพณีขึ้นไหว้สาสรงน้ำพระบรมธาตุแก่งสร้อย” 7-8 เมษายน 2556 ณ วัดพระบรมธาตุแก่งสร้อย อ.สามเงา จ.ตาก

28 Mar

“ประเพณีขึ้นไหว้สาสรงน้ำพระบรมธาตุแก่งสร้อย” 7-8 เมษายน 2556 ณ วัดพระบรมธาตุแก่งสร้อย อ.สามเงา จ.ตาก.

 

“ประเพณีขึ้นไหว้สาสรงน้ำพระบรมธาตุแก่งสร้อย” 7-8 เมษายน 2556 ณ วัดพระบรมธาตุแก่งสร้อย อ.สามเงา จ.ตาก

28 Mar

“ประเพณีขึ้นไหว้สาสรงน้ำพระบรมธาตุแก่งสร้อย

7-8 เมษายน 2556 ณ วัดพระบรมธาตุแก่งสร้อย อ.สามเงา จ.ตาก

PR002_resize

เมืองสร้อย” ดินแดนแห่งอารยธรรม ประตูสู่ล้านนา เมืองโบราณที่มีเรื่องราวยาวนาน ตำนานแห่งลุ่มน้ำปิง และหนึ่งในวัดเก่าแก่ที่ยังคงเหลืออยู่จาก 99 วัดในเมืองสร้อย (อ.สามเงา จ.ตาก) ในขณะที่วัดอื่นๆ ถูกจมอยู่ใต้น้ำ มีตำนานเล่าว่า ก่อนนี้เป็นเมืองอุดม เป็นที่ราบกว้างใหญ่ พระยาอุตุม จึงได้สร้างเมืองขึ้น ประกอบกับมีชุมชนอาศัยอยู่ริมน้ำเป็นจำนวนมาก ต่อมาพระพุทธเจ้าเสด็จผ่านได้แวะพัก เมื่อชาวลั๊วทราบข่าว จึงได้นำ ดอกไม้ และอาหารมาถวาย ซึ่งดอกไม้บริเวณนั้นส่วนใหญ่จะเป็น ดอกสร้อย พุทธองค์จึงนำพระเกศาให้ไว้เพื่อความเป็นสิริมงคล ชาวบ้านจึงร่วมกันสร้างเจดีย์บรรจุไว้และเรียกว่า พระธาตุแก่งสร้อย มาจนถึงปัจจุบัน

          ประเพณี “ขึ้นไหว้สาสรงน้ำพระบรมธาตุแก่งสร้อย” นี้ ได้จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยคณะศิษย์หลวงปู่พระครูบาเจ้าชัยยะวงศาพัฒนา โดยในปีนี้ ได้กำหนดจัดขึ้นในระหว่างวันที่ 7-8 เมษายน 2556 ซึ่งมีกำหนดการดังนี้

วันอาทิตย์ ที่ 7 เมษายน 2556

07.00 น. แพเคลื่อนที่ออกจากหน้าเขื่อนภูมิพล

16.00 น. ร่วมพิธียกยอดฉัตรพระธาตุเจดีย์ศรีโขงคำ

ทำพิธีตั้งขบวนถวายผ้าแว้ง(ผ้าคุมพระบรมธาตุ)

19.00 น. พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์เวียนเทียน

มีธรรมเทศาและจุดบอกไฟถวายเป็นพุทธบูชา

วันจันทร์ ที่ 8 เมษายน 2556

04.00 น. พระสงฆ์สวดพระธรรมจักรกัปวัตนสูตร

05.30 น. ถวายข้าวมธุปยาส

06.30 น. ทำบุญตักบาตร

09.00 น. ทำพิธีสืบชะตาหลวงเสร็จแล้ว

พระภิกษุสามเณรนำสรงน้ำพระบรมธาตุ

11.00 น. ถวายภัตตาหารเพลแด่พระภิกษุสามเณร

12.00 น. เดินทางกลับ

21.00 น. กลับถึงหน้าเขื่อนภูมิพลโดยสวัสดิภาพ

 

นายสุรินทร์ ติเพียร กล่าวว่า ประเพณี “ขึ้นไหว้สาสรงน้ำพระบรมธาตุแก่งสร้อย” ถือเป็นประเพณีของชาวไทยพุทธที่สำคัญและถือเป็นการดีในวาระดิถีขึ้นปีใหม่ของชาวไทยที่จะนำพาความเป็นสิริมงคลมาสู่ตนเองและครอบครัว และแม้ว่าการเดินทางไปยังวัดพระบรมธาตุแก่งสร้อยนั้น จะต้องนั่งเรือจากเขื่อนภูมิพลไป โดยใช้เวลาถึง 6 ชั่วโมง แต่ถ้าได้ลองสัมผัสกับบรรยากาศความงดงามของธรรมชาติแห่งทะเลสาบแม่ปิง เชื่อได้ว่าทุกๆ ท่านคงเหมือนต้องมนต์ จนลืมเวลาไปเลยทีเดียว

สอบถามเพิ่มเติมที่ ททท. สำนักงานตาก ทุกวันเวลา 08.30-16.30 น. โทร. 0 5551 4341-3 หรือ
คุณกฤษณา กาแก้ว (แพพรจามเทวี) 087-201-8489

อีเมลล์  tattak@tat.or.th

หรือ www.facebook.com/taktravel

 

Wat Don Kaeo (วัดดอนแก้ว)

17 Oct

Wat Don Kaeo (วัดดอนแก้ว).

Wat Don Kaeo (วัดดอนแก้ว)

17 Oct

 

Wat Don Kaeo (วัดดอนแก้ว)

One of three marble Buddha images in the world. Built at the same time in a Burmese style of sculpture was invited from Yangon to house in Wihan (image hall) here.  The other two Buddha images are worshipped in Pakistan and India. This beautiful Buddha image is 63 inches in height and its lap is 50 inches in width.

เที่ยวเมืองตากหลากวิถี

30 Aug

เที่ยวเมืองตากหลากวิถี

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) สำนักงานตาก ร่วมกับ บริษัทฟูจิ ทัวร์ (ประเทศไทย) จำกัด ขอเชิญชวนทุกท่านสัมผัสวิถีชีวิตที่หลากหลายของประชากรที่อาศัยอยู่ในจังหวัดตาก ซึ่งล้วนมีวิถีชีวิตที่แตกต่างกันออกไป ด้วยสภาพภูมิประเทศที่ติดชายแดนกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนม่า (พม่า) ที่อำเภอแม่สอด และยังมีพื้นที่ติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียงมากที่สุดของประเทศไทย

ก่อเกิดความหลากหลายทางวัฒนธรรมและศิลปะแห่งการดำรงชีวิต ททท. สำนักงานตาก จึงได้กำหนดจัดกิจกรรมเพื่อให้นักท่องเที่ยวที่เดินทางมายังจังหวัดตากให้สามารถเลือกวิถีท่องเที่ยวในรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย ทั้งด้านวัฒนธรรม วิถีชีวิต แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติและการผจญภัย และนำไปสู่การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยว

ภายใต้กิจกรรม “เที่ยวเมืองตาก หลากวิถี” ประจำปี 2555 โดยนำกลุ่มนักท่องเที่ยวหัวใจใหม่เมืองไทยยั่งยืนและสื่อมวลชนทั้งจากส่วนกลางและท้องถิ่น จำนวนประมาณ 30 คน ร่วมเดินทางทั้งทางรถยนต์และทางล่องแพ ในเส้นทาง กรุงเทพฯ-ตาก-กรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ 7-9 กันยายน 2555 นี้

ตลอดการเดินทางทุกท่านจะได้สัมผัสความงดงามตามรากฐานแห่งวัฒนธรรมตามวิถีไทยดั้งเดิม มีกิจกรรมมากมายที่รอให้ทุกท่านมาสัมผัส ได้แก่
– คืนชีวิตสู่รากเหง้า เคล้าถิ่นไทย กับท่องเที่ยวตาม
วิถีชีวิตชุมชน อาทิ การชมไร่ สวนผลไม้ การถนอมอาหาร การทำขนมพื้นเมืองของ

ชาวไทยใหญ่ และการทำเครื่องจักรสาน

– สักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองตากกับการท่องเที่ยวตามวิถีแห่งศรัทธาและความเชื่อ อาทิ ศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พิพิธภัณฑ์หมู่บ้านแม่ละเมาสมัยการเดินทัพแห่งองค์สมเด็จพระนเรศวร

– เดินทางสายกลางตามรอยแห่งพระธรรมคำสอนแห่งพระพุทธศาสนากับการท่องเที่ยวในวิถีธรรมอาทิ วัดพระบาทเขาหนาม วัดเจดีย์ลอย หลวงพ่อทันใจที่วัดชลประทานรังสรรค์ และวัดไทยวัฒนารามวัดในพระพุทธนิกายมหายานของชาวไทยใหญ่

– และโอบกอดฟ้า สัมผัสดิน ชุ่มฉ่ำฝน กับการท่องเที่ยวในวิถีแห่งธรรมชาติ ได้แก่ การล่องแพชมธรรมชาติแห่งสายน้ำ การขับรถ ATV ชมความงามแห่งผืนป่าตะวันตก ฯลฯ
นายสุรินทร์ ติเพียร ผู้อำนวยการสำนักงาน ททท. สำนักงานตาก ได้กล่าวว่า การจัดกิจกรรม “เที่ยวเมืองตาก หลากวิถี” นอกจากทุกท่านจะได้สัมผัสเมืองตากในหลากหลายรูปแบบแล้ว ททท. ยังร่วมกับพันธมิตรและชุมชนในการที่จะให้ทุกท่านที่เข้าร่วมโครงการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง โดยการจัดกิจกรรม “ทำฝาย” ร่วมกับชุมชน ในวันศุกร์ที่

7 กันยายน 2555 เพื่อเพิ่มคุณค่าและสร้างประสบการณ์ในใจของนักท่องเที่ยว นำไปสู่การรณรงค์ให้เกิดการท่องเที่ยวอย่างรู้ค่า รักษาแหล่งท่องเที่ยว สมกับที่เป็นนักท่องเที่ยวหัวใจใหม่ เมืองไทยยั่งยืน อัตราค่าบริการ ท่านละ 2,990.- บาท

สนใจเข้าร่วมโครงการติดต่อ บริษัท ฟูจิทัวร์ (ประเทศไทย) จำกัด โทร. 0-2540-2971-2, 0-2918-6067-8

ติดต่อสอบถามข้อมูลและเส้นทางท่องเที่ยวเชื่อมโยงก่อนเดินทางได้ที่ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานตาก เปิดทำการทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.30 –16.30 น.โทร.0-5551-4341-3, อีเมลล์ tattak@tat.or.th หรือ www.facebook.com/taktravel

Chedi Yutthahatthi or the Chedi in Honoure of King Ram Khamhaeng the Great

28 Aug

Chedi Yutthahatthi or the Chedi in Honoure of King Ram Khamhaeng the Great

Being commonly called by villagers as Chedi Chon Chang ( a pagoda of an elephant back fight), the Chedi is located on Doi Chang in Tambon Ko Taphao .  Doi Chang is a small hill away from the north of Doi Phrathat. Built in the Sukhothai period over 700 years ago, this Sukhothai-styled artwork stands on a cement square base of 12 m in width.  The indented square-shaped relic chamber is  16 m high, with the upper indented square part to its lotus bud-shaped finial under the umbrella.  There are traces of repair over the past time, but the pagoda still remains in its original form. The square base of the lotus bud-shaped spire has beautiful stucco of a lion’s face; the design on the northern side is still perfect while broken images appear on other sides of the base.  The pagoda is mostly covered with lichen.  It will be cleaned and decorated when the fair to pay homage to the Buddha’s relics of Ban Tak is coming.

Loi Krathong Sai Lai Prathip Phan Duang Tradition

28 Aug

Image

 

 

Loi Krathong Sai Lai Prathip Phan Duang Tradition  (ประเพณีลอยกระทงสายไหลประทีป ๑,๐๐๐ ดวง)

     Loi Krathong Sai is an ancient tradition which has long been inherited over the past. It is held every in November which coincides with the full moon night of the twelfth lunar month. “Krathong Sai” is different from a Krathong cup in general.  A cup of coconut shell is used as its body.  Since the people of the Tak love “Miang”- a local snack made of coconut flesh, and produce “Miang” as an important local product, a lot of coconut shells are left.  During the Loi Krathong Festival, the people bring them to be cleaned and polished for making Krathong Sai.  Prepared fuel is put in the coconut cups and then lit before floating them away in the line along the Ping River.  The glittering cups provide an attractive scence on the Ping River at night.  During this event, there is competition of releasing the Krathong cups called “Krathong Sai Lai Prathip Phan Duang” to win His Majesty the King’s Cup, cultural performances, a beauty contest entitled “Thida Krathong Sai” and OTOP booths. 

   

 

 

Khuen That Duen Kao Tradition

28 Aug

Khuen That Duen Kao Tradition

(ประเพณีขึ้นธาตุเดือน 9 เหนือ)

     This merit making event is held to worship the Lord Buddha’s relics on the fourteenth waxing moon day and the full moon day of the ninth lunar month of Thailand’s North, which coincides with the seventh lunar month of Thailand in general, or around late May or in June. There are processions of long drums, offerings, money donation trees, “Pha Pa” robe trees and victory flags, and a robe to cover Phrathat (the Pagoda where the Loard Buddha’s relics are enshrined), starting from Nong Lem, Saphan Bun, to Wat Phra Borommathat.  A ceremony is held to offer the pagoda robe.  On this occarion, a ritual is done to propitiate the Chedi (pagoda) buit to the north of temple by King Remkhamhaeng to mark his successful elephant-back fight against Khun Sam Chon, the ruler of the city of Chot.  Also, the traditional merit-making by giving offering to Buddhist monks is held at the temple.

Wat Phra Borommathat

28 Aug

 

Wat Phra Borommathat

 

Wat Phra Borommathat located in Tambon Ko Taphao, this ancient temple underwent several renovations.  The Ubosot (ordination hall) has a beautifully carved-wooden door. Its pediment and gable roof are also woodcraving.  The gilded carved windows depict the history of Lord Buddha.  The stair’s heads feature Nagas (serpents).  The old Wihan (image hall) has a high ceiling with double tiers, and is well equipped with ventilation channels so that it is cool inside.  A gilded stucco Buddha image is housed in the Wihan.  Furthermore, there is another ancient hall with woodcarving that is worth a visit.  This temple is among the ones of great archaeological value.

How to get there : From Amphoe Mueang Tak, follow Highway No. 1 (AH 2)  for around 35 km and take a left turn to Amphoe Ban Tak and across the bridge of Ping river to Highway and take a right turn to Highway No. 1107 and turn left into Highway No. 1175 for around 1 km, the temple is on your left.